| ตำแหน่ง | ชื่อ | นามสกุล | กลุ่มย่อย | สาขา | มหาวิทยาลัย | หัวข้อวิทยานิพนธ์ที่คาดว่าจะให้นักศึกษาวิจัย | email |
1
|
ผศ.ดร.
|
สัญชัย
|
ประยูรโภคราาช
|
8.1 เชื้อเพลิงชีวภาพ
|
เคมี
|
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
|
การสังเคราะห์และวิเคราะห์ลักษณะตัวเร่งปฏิกิริยาบนตัวรองรับซีโอไลต์ที่มีขนาดอนุภาคแตกต่างกันสำหรับการผลิตไบโอดีเซล
|
sanchaip@sut.ac.th
|
2
|
ผศ.ดร.
|
ชนาธิป
|
สามารถ
|
8.1 เชื้อเพลิงชีวภาพ
|
เคมี
|
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
|
การพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาคุณภาพสูงสำหรับกระบวนการดีออกซีจีเนชันของน้ำมันชีวภาพที่ได้จากการไพโรไลซิสชีวมวล
|
chanatip@tu.ac.th
|
3
|
ผศ.ดร.
|
พสิษฐ์
|
ภควัชร์ภาณุรัตน์
|
8.1 เชื้อเพลิงชีวภาพ
|
เคมี
|
มหาวิทยาลัยมหิดล
|
การพัฒนาวัสดุเพอรอฟสไกต์สำหรับเซลล์แสงอาทิตย์เพอรอฟสไกต์
|
pasit.pk@gmail.com
|
4
|
รศ.ดร.
|
ประพันธ์
|
คูชลธารา
|
8.1 เชื้อเพลิงชีวภาพ
|
เคมีเทคนิค
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
การผลิตไฮโดรเจนจากรีฟอร์มิง`เชิงเร่งด้วยตัวดูดซับ
|
prapan.k@chula.ac.th
|
5
|
รศ.ดร.
|
ประเสริฐ
|
เรียบร้อยเจริญ
|
8.1 เชื้อเพลิงชีวภาพ
|
เคมีเทคนิค
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
การผลิตร่วมเอทานอลและแก๊สเชื้อเพลิงจากฟูเซลออยล์ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์พลอยได้จากโรงงานเอทานอล
|
changbig@hotmail.com
|
6
|
รศ.ดร.
|
ประชุมพร
|
คงเสรี
|
8.1 เชื้อเพลิงชีวภาพ
|
ชีวเคมี
|
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
การศึกษาโครงสร้างและการทำงานของเอนไซม์เบต้า-กลูโคซิเดสจากแหล่งเมตาจีโนม
|
fscippt@ku.ac.th
|
7
|
ศ.ดร.
|
วิภา
|
สุจินต์
|
8.1 เชื้อเพลิงชีวภาพ
|
ชีวเคมี
|
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
|
การศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของเอนไซม์สลายไคติน lytic polysaccharide monooxygenase จากเชื้อ Vibrio harveyi
|
wipa@sut.ac.th
|
8
|
รศ.ดร.
|
วรวุฒิ
|
จุฬาลักษณานุกูล
|
8.1 เชื้อเพลิงชีวภาพ
|
เทคโนโลยีชีวภาพ
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
การหาเอนไซม์ชนิดใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนลิกโนเซลลูโลสโดยกระบวนการเมทาจีโนมิกส์เพื่อผลิตน้ำมันสำหรับเครื่องบิน
|
warawut.c@chula.ac.th
|
9
|
รศ.ดร.
|
พรเทพ
|
ถนนแก้ว
|
8.1 เชื้อเพลิงชีวภาพ
|
เทคโนโลยีชีวภาพ
|
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
|
สภาวะที่เหมาะสมในการผลิตเอทานอลที่อุณหภูมิสูงโดย Zymomonas mobilis สายพันธุ์ทนร้อนและการศึกษายีนที่เกี่ยวข้องกับความสามารถในการทนร้อน
|
portha@kku.ac.th
|
10
|
รศ.ดร.
|
พัฒนา
|
เหล่าไพบูลย์
|
8.1 เชื้อเพลิงชีวภาพ
|
เทคโนโลยีชีวภาพ
|
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
|
การผลิตไบโอบิวทานอลความเข้มข้นสูงจากกากน้ำตาลอ้อยด้วยเซลล์ตรึงรูป Clostridium ในเครื่องปฏิกรณ์ชีวภาพแบบแอร์ลิฟต์ควบคู่กับระบบแก๊สสตริปปิง
|
patlao@kku.ac.th
|
| | | | | | | | |
|