| ตำแหน่ง | ชื่อ | นามสกุล | กลุ่มย่อย | สาขา | มหาวิทยาลัย | หัวข้อวิทยานิพนธ์ที่คาดว่าจะให้นักศึกษาวิจัย | email |
1
|
ศ.ดร.
|
ภูมิ
|
คำเอม
|
2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
|
คณิตศาสตร์ประยุกต์
|
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
|
การแก้ปัญหาค่าเหมาะสมในปริภูมิจีออเดสิคด้วยความโค้งที่มีขอบเขต
|
poom.kum@kmutt.ac.th
|
2
|
รศ.ดร.
|
ชินพงษ์
|
กฤตยากรนุพงศ์
|
2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
|
เคมี
|
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
|
แบบจำลองทางพลวัตเชิงโมเลกุลแบบ QMCF ของโมเลกุลที่มีพิษในน้ำ
|
chinapong.kri@kmutt.ac.th
|
3
|
รศ.ดร.
|
เดวิด เจมส์
|
ฮาร์ดิง
|
2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
|
เคมี
|
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
|
ไครัลลิตีในสารประกอบสปินครอสโอเวอร์
|
hdavid@mail.wu.ac.th
|
4
|
รศ.ดร.
|
อุดมศิลป์
|
ปิ่นสุข
|
2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
|
ฟิสิกส์
|
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
|
สมบัติของวัสดุพลังงานแสงอาทิตย์ภายใต้ความดันสูง
|
pinsook@gmail.com
|
5
|
ผศ.ดร.
|
ภาคภูมิ
|
เรือนจันทร์
|
2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
|
ฟิสิกส์
|
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
|
การศึกษาเชิงทฤษฎีของความบกพร่องภายในและไฮโดรเจนที่เจือปนในออกไซด์ตัวนำโปร่งใสที่มีโครงสร้างแบบสปิเนล
|
p.reunchan@gmail.com
|
6
|
ดร.
|
ธนายุทธ
|
แก้วมารยา
|
2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
|
ฟิสิกส์
|
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
|
การศึกษาทางทฤษฎีของโครงสร้างวันเดอร์วาลผสมของฟอสฟอรีดำและฟอสฟอรีนเขียว
|
thakaew@kku.ac.th
|
7
|
รศ.ดร.
|
จักรพงษ์
|
แก้วขาว
|
2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
|
ฟิสิกส์
|
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม
|
การระบุสมบัติโฟโตลูมิเนสเซนต์ของแก้วที่เจือด้วยไอออน 3+ ของธาตุเเลนทาไนด์สำหรับประยุกต์ใช้เป็นวัสดุโฟโตนิกส์โดยใช้เทคนิคเเสงซินโครตรอน
|
mink110@hotmail.com
|
8
|
ผศ.ดร.
|
เชรษฐา
|
รัตนพันธ์
|
2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
|
ฟิสิกส์ประยุกต์
|
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
|
การสังเคราะห์ และศึกษาสมบัติเทอร์โมอิเล็กทริก และผลกระทบของ ราทตลิง ใน วัสดุอิเล็กทริกไทรด์ C12A7 โครงสร้างกรงขนาดนาโน ที่ถูกโด็บด้วยโลหะ (Fe, Cr,Mn)
|
chesta.ruttanapun@gmail.com
|
9
|
ผศ.ดร.
|
ชัยกานต์
|
เลียวหิรัญ
|
2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
|
วัสดุศาสตร์
|
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
การพัฒนาเซนเซอร์ตรวจจับไอจากกรดอินทรีย์ระเหยได้บนฐานของวัสดุนาโนใหม่เสริมฟังก์ชัน สำหรับการประยุกต์ใช้ได้ในกลุ่มเป้าหมายด้านการตรวจจับแก๊ส
|
cliewhiran@gmail.com
|
10
|
ผศ.ดร.
|
สุขุม
|
อิสเสงี่ยม
|
2. อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
|
วัสดุศาสตร์
|
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
|
พัฒนาประสิทธิภาพแคโทดสำหรับลิเธียมแบตเตอรี่
|
sukum99@yahoo.com
|
| | | | | | | | |
|