หน่วยงาน
| หัวข้อวิจัย
| การติดต่อ
|

สถาบันวัคซีนแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
| การพัฒนาวัคซีนเป้าหมาย การพัฒนาวัคซีนและชีววัตถุที่มีความสำคัญและเป็นความต้องการของ
ประเทศ ได้แก่
• วัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออกเดงกี่
• วัคซีนป้องกันโรคไข้สมองอักเสบเจอี
• วัคซีนป้องกันโรคคอตีบ-บาดทะยัก-ไอกรน-ตับอักเสบบี
• วัคซีนป้องกันวัณโรค
• วัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
• วัคซีนป้องกันโรคไข้ซิกา
• อื่นๆ ที่ใช้ในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค หรือเป็นปัญหาสาธารณสุขในประเทศ
หัวข้อการวิจัยที่ขอรับการสนับสนุน ควรมีลักษณะของงานวิจัยดังต่อไปนี้
• การวิจัยพัฒนาวัคซีนต้นแบบสู่การผลิตในระดับอุตสาหกรรม
• การพัฒนากระบวนการผลิตวัคซีนตามมาตรฐาน GMP
• การพัฒนาการทดสอบเพื่อการประกันและควบคุมคุณภาพวัคซีน
• การประกันและควบคุมคุณภาพวัคซีนตั้งแต่การวิจัยพัฒนา การผลิต จนถึงการใช้วัคซีน
• การพัฒนาสารเสริมการออกฤทธิ์ (Adjuvant) สำหรับวัคซีน
• การศึกษาระบบนำส่งวัคซีนรูปแบบใหม่
• การวิจัยเชิงนโยบาย
• การวิจัยเพื่อพัฒนาระบบสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคแก่ประชาชน
|
คุณสิริพัฒน์ เจนสุริยะกุล (นักวิชาการวัคซีนปฏิบัติการ) สถาบันวัคซีนแห่งชาติ โทรศัพท์ 02-5809729-31 ต่อ 309
โทรสาร 02-5809732 Website http://funding.nvi.go.th/
|

สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
| • การรักษาความปลอดภัยของไซเบอร์
• วัสดุผสมสำหรับใช้ในเกราะกันกระสุน
• การสังเคราะห์นาโนอิเล็กโทรด
• เซลล์เชื้อเพลิง
• พลังงานทางเลือกและพลังงานทดแทน
• เทคโนโลยีเสมือนจริง
• เรดาร์และการประยุกต์ใช้งาน
• การควบคุมอุปกรณ์จากระยะไกล
• การควบคุมอัตโนมัติจากระยะไกลของยานไร้คนขับ
• ระบบผู้เชี่ยวชาญเพื่อการตัดสินใจ
• high level architecture เพื่อการเชื่อมโยงการฝึกด้วย เครื่องช่วยฝึกเทคโนโลยีสูง
• การประยุกต์ใช้งาน gimbals และ sensor
• ระบบจำลองสภาพอากาศเพื่อความตระหนักรู้ต่อ สถานการณ์ภัยแล้ง
• การประยุกต์ใช้ทฤษฎี bayesian เพื่อบรรเทาสาธารณภัย
• การประยุกต์ใช้ฐานการเคลื่อนที่ (motion platform) เป็นพื้นฐานจำลองการเคลื่อนที่
• ความเป็นไปได้ในการติด sensor/อาวุธ ในยานไร้คนขับ
• เลเซอร์ กับการประยุกต์ใช้ในการระบุตำแหน่ง
• เรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีป้องกันประเทศ
|
คุณสุนันทา โทวระ (เจ้าหน้าที่บัณฑิตศึกษา3) สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ โทรศัพท์ 0-2980-6688 ต่อ 2136 E-Mail sunantha.t@dti.or.th Website http://www.dti.or.th/index.php
|

กรมวิชาการเกษตร
| • Physiology of plants
• Taxonomy (in plants/fungal)
• Plant Molecular Biology
• Plant Breeding
• Nanotechnology ยังไม่มีผู้จบโดยตรง
• Micro-biology Utilization for Fermentation and Digestion (ยังไม่มีผู้จบโดยตรง)
• Plant Tissue Culture and Genetic Transformation
• Biotechnology
• การพัฒนาแบบจำลองการประเมินผลผลิตและการพยากรณ์ผลผลิตชั้นสูง Production Forecasting Model
• Toxicology
• DNA Chip Technology
• การเก็บรักษาเชื้อพันธุกรรม (Plant Genetic Conservation)
• GIS/Climate Prediction
• Precision Agriculture
• Food Science
• Bio-energy Engineering
• Greenhouse Agriculture
• Mechatronic Engineering
• Microbial Fermentation
• Agriculture Organization |
คุณเบญจพร ลัทธิเดช (กล่มพัฒนาบุคคล) กรมวิชาการเกษตร โทรศัพท์
0-2579-0579 ต่อ 154 E-Mail lat_benja@yahoo.com
|

สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) | • ระบบวางแผนและหลบเลี่ยงอัตโนมัติของดาวเทียมแบบกลุ่ม
• การพัฒนาโครงสร้างน้ำหนักเบาของอากาศยานไร้คนขับเพดานบินสูง
• การประยุกต์ใช้ระบบดาวเทียมนำทาง (GNSS) ในด้านต่าง ๆ
GNSS Real-time PPP processing, GNSS Cloud processing
Automatic Vehicle
GNSS Security (Anti-Jamming, Anti-Spoofing)
GNSS Augmentation, GBAS, SBAS
GNSS real-time monitoring (Climate, Disaster, Construction)
การเชื่อมโยงการระบุตำแหน่งในอาคารกับภายนอกอาคาร
• การใช้เทคโนโลยีวิเคราะห์ภาพช่วงคลื่นละเอียดสูง (Hyperspectral remote sensing imagery) เพื่อการประเมินระดับปริมาณธาตุอาหารหลักและธาตุอาหารรองในพืช
• การประเมินช่วงการเจริญเติบโตและพยากรณ์ปริมาณผลผลิตของพืชเศรษฐกิจด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
• การประเมินชีพลักษณ์ของพืชจากข้อมูลสำรวจระยะไกลหลายช่วงเวลา และ หลายsensor (Crop phenology estimation using multi-temporal and multi-modal data)
• การวิเคราะห์และคาดการณ์ตำแหน่งพื้นที่การตกของฝน ปริมาณน้ำฝน และระยะเวลาการตกของฝน โดยใช้การ
บูรณาการเทคโนโลยีดาวเทียม เทคโนโลยีเรดาร์ตรวจอากาศและเทคโนโลยี sensor ในการตรวจวัดต่าง ๆ
• การใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อศึกษา
Dynamic water budget
Hydrometeorological characteristics under Climate Variation and Climate Change
Atmospheric river
• การสำรวจและวิเคราะห์โครงสร้างป่าด้วยเทคโนโลยี LiDAR
• พัฒนาระบบระบุตำแหน่งด้วยดาวเทียม GNSS ขนาดเล็กสำหรับชุมชนแบบความแม่นยำสูงด้วยเทคนิค RTK ของเครื่องรับGNSS ราคาถูก
• พัฒนาSoftware เพื่อการบูรณาการรวบรวมข้อมูลจากเซ็นเซอร์ ของระบบ Ground-Space ร่วมกัน
|
คุณอิศริยา ทิพยวัฒน์
(หัวหน้าฝ่ายบริหารวิชาการ) สถาบันวิทยาการอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA Academy) สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (GISTDA)
โทรศัพท์ 0-2141-4614, 092-432-8778 โทรสาร 0-2143-9595 Website https://www.gistda.or.th/
|

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ | • Impact from Space
• Understanding astrophysical processes • The study of exoplanets and search for life outside solar system • Understanding the Origin of the Cosmos
|
คุณณัฐพิชญ์ ทองไสว (เจ้าหน้าที่ประสานงานวิจัย) สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ โทรศัพท์ 053-121-268 ต่อ 503 โทรสาร 053-121-250
Email natapit@narit.or.th Website
www.narit.or.th
|
|
- สถานการณ์ทางระบาดวิทยา การเข้าถึงบริการ ผลลัพธ์การรักษา และปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการควบคุมป้องกันโรคในกลุ่มแรงงานต่างด้าวและครอบครัว
- โครงสร้างประชากร การเข้าถึงวัคซีนพื้นฐาน และปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการเข้าถึงวัคซีนอย่างต่อเนื่องและครบถ้วน ในบุตรแรงงานต่างด้าว พื้นที่ชุมชนเมืองและการเกษตร
- การพัฒนานวัตกรรม รูปแบบ ระบบการแจ้งการพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ (fall detection alarm system) ที่เชื่อมต่อกับระบบการบริการ ในบริบทของประเทศไทย
- ต้นทุน ประสิทธิผล และความคุ้มค่าของมาตรการป้องกันการพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ ในประเทศไทย
- Application of AI for detection of Opisthorchis viverrini and Minute Intestinal Flukes in the automated fecal analysis.
- พัฒนาระบบเฝ้าระวัง และมาตรการเพื่อป้องกันควบคุมโรคในผู้ประกอบอาชีพสัมผัสขยะ และชุมชนผู้อาศัยในบริเวณใกล้เคียงบ่อขยะขนาดเล็ก ที่ไม่เข้าเกณฑ์การควบคุมของกรมควบคุมมลพิษ
- ปัจจัยเสี่ยงต่อการเสียชีวิตด้วยโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในเด็ก กรณีศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้
- การพัฒนารูปแบบการสำรวจความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กในเขตเมือง
- The calcualation system for health promotion and disease control costing / financing at national level
- กำลังคนที่เหมาะสม (full time equivalence) ของบุคลากรด้านการป้องกันควบคุมโรค
- การศึกษาปัจจัยการรับสัมผัสสารพิษในสิ่งแวดล้อมต่อพัฒนาการของเด็กเล็ก
- การศึกษาผลกระทบทางสุขภาพจากการรับสัมผัสฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM10 และ PM2.5) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
- การศึกษาเพื่อทราบขนาดปัญหา/ทำนายสถานการณ์โรคไม่ติดต่อ โดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์
- การศึกษาความชุกและสภาพปัญหาของโรคเมลิออยโดสิสในประเทศไทย
- พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางด้านชีวการแพทย์ สังคม และด้านอื่นๆ เพื่อส่งเสริมการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และการดูแลผู้ป่วย
- การศึกษาต้นทุนประสิทธิผลของมาตรการต่างๆ เพื่อป้องกันและควบคุมการบาดเจ็บและการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
- การประเมินประสิทธิผลมาตรการการป้องกันควบคุมการสูบบุหรี่/การดื่มแอลกอฮอล์ในเยาวชน
- การศึกษาผลกระทบด้านสุขภาพและเศรษฐศาสตร์จากนโยบาย Eastern Economic Corridor (EEC)/ASEAN
- การพัฒนาระบบ และกลไก การจัดการป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่เขตเมือง
- ทบทวนกฏหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงมาตรการต่างๆ เช่น มาตรการทางภาษี การตลาดเพื่อสร้างแรงจูงใจในการป้องกันควบคุมโรคที่เหมาะสม
- ศึกษารูปแบบการบริหารจัดการ การทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย เพื่อการป้องกันควบคุมโรค ที่เหมาะสมต่อชุมชนประเภทต่างๆ เช่น ชุมชนแออัด คนเร่ร่อน ชุมชนจัดตั้ง เป็นต้น"
- การประยุคต์ใช้ระบบ big data ต่อการควบคุมป้องกันโรค
- นวัตกรรมเพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคของแรงงานต่างด้าว และผู้ติดตาม
- การศึกษาผลกระทบและการจัดการด้านสุขภาพของประชาชนที่อาศัยในชุมชนใหม่ในเขตเมืองอุตสาหกรรม
|
ดร.ภญ. นัยนา ประดิษฐ์สิทธิกร
(นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ)
โทรศัพท์
0-2590-3149
E-Mail
naiyana.p@ddc.mail.go.th
Website
https://goo.gl/nVFXNy
|